Drug name: lansoprazole
Description: Lansoprazole (แลนโซพราโซล) เป็นยาในกลุ่มโปรตอนปั๊มอินฮิบิเตอร์ (Proton Pump Inhibitors) มีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งกรด ลดจำนวนกรดในกระเพาะอาหาร ช่วยลดการเกิดกรดไหลย้อน อาการแสบร้อนกลางอก รวมไปถึงช่วยรักษาแผลในกระเพาะอาหารและหลอดอาหาร ยา Lansoprazole มีข้อควรระวังในการใช้ยามากมาย ผู้ป่วยควรอ่านฉลากยาอย่างละเอียด หรือปรึกษาแพทย์และเภสัชกรก่อนใช้ยาเสมอ เกี่ยวกับ Lansoprazole คำเตือนในการใช้ Lansoprazole ผู้ที่เคยเจ็บป่วย หรือกำลังมีอาการป่วยดังต่อไปนี้ ควรแจ้งให้แพทย์ทราบก่อนใช้ยา เนื่องจากยา Lansoprazole อาจเกิดปฏิกิริยาขึ้นเมื่อใช้ร่วมกับยาบางชนิด ผู้ป่วยควรแจ้งแพทย์ถึงยาทั้งหมดที่กำลังใช้อยู่ หรือใช้ในช่วงก่อนหน้านี้ โดยเฉพาะยาดังต่อไปนี้ ปริมาณการใช้ Lansoprazole ยา Lansoprazole มีปริมาณ รูปแบบ และวิธีการใช้ที่แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับภาวะของผู้ป่วยที่ต้องรักษา เช่น อาหารไม่ย่อย กรดไหลย้อน แผลในทางเดินอาหาร เป็นต้น ตัวอย่างปริมาณการใช้ยามีดังนี้ กรดไหลย้อน หลอดอาหารอักเสบเป็นแผล แผลในทางเดินอาหาร แผลในทางเดินอาหารจากการใช้ยา NSAIDs (สำหรับใช้รักษา) ป้องกันการเกิดแผลในทางเดินอาหารจากการใช้ยา NSAIDs อาหารไม่ย่อยที่เกี่ยวข้องกับกรด โรคติดเชื้อเอชไพโลไร (H.Pylori Infection) ยารับประทานปริมาณ 30 มิลลิกรัม ร่วมกับยาคลาริโทรมัยซิน (Clarithromycin) ปริมาณ 500 มิลลิกรัม และยาอะมอกซิซิลลิน (Amoxicillin) 1,000 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง ยารับประทานปริมาณ 30 มิลลิกรัม ร่วมกับยาคลาริโทรมัยซิน (Clarithromycin) ปริมาณ 250 มิลลิกรัม และยาเมโทรนิดาโซล (Metronidazole) 400 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง กลุ่มอาการโซลลิงเจอร์-เอลลิสัน (Zollinger-Ellison Syndrome) การใช้ Lansoprazole ผลข้างเคียงจากการใช้ Lansoprazole ผลข้างเคียงบางอย่างจากยา เช่น ปวดศีรษะ เวียนศีรษะ หรือคลื่นไส้เล็กน้อย อาจไม่จำเป็นต้องรับการรักษาทางการแพทย์ เพราะเมื่อร่างกายปรับตัวให้คุ้นชินกับยาแล้ว อาการดังกล่าวอาจหายไปเอง แต่หากยังเป็นอยู่อย่างต่อเนื่อง จนอาการนั้นรบกวนการใช้ชีวิตประจำวัน หรือหากผู้ป่วยมีข้อสงสัยใด ๆ ควรปรึกษาแพทย์ ส่วนผู้ป่วยที่ได้รับผลข้างเคียงรุนแรงดังต่อไปนี้ ควรรีบไปพบแพทย์ทันที ดูเพิ่มเติมเกี่ยวกับ :Lansoprazole (แลนโซพราโซล)
กลุ่มยา
โปรตอนปั๊มอินฮิบิเตอร์ (Proton Pump Inhibitors)
ประเภทยา
ยาตามใบสั่งแพทย์
สรรพคุณ
รักษาแผลในกระเพาะอาหาร กรดไหลย้อน แสบร้อนกลางอก
กลุ่มผู้ป่วย
ผู้ใหญ่และเด็ก
รูปแบบของยา
ยารับประทาน ยาฉีด
ยารับประทานปริมาณ 15-30 มิลลิกรัม วันละครั้งในตอนเช้า เป็นเวลา 4-8 สัปดาห์ เมื่ออาการดีขึ้น ให้ยาปริมาณ 15-30 มิลลิกรัม (ขึ้นอยู่กับการตอบสนองต่อฤทธิ์ยา)
ยารับประทานปริมาณ 15 มิลลิกรัม วันละครั้งในตอนเช้า เป็นเวลา 12 สัปดาห์ (สำหรับผู้ที่น้ำหนักน้อยกว่า หรือเท่ากับ 30 กิโลกรัม)
ยารับประทานปริมาณ 30 มิลลิกรัม วันละครั้งในตอนเช้า เป็นเวลา 12 สัปดาห์ (สำหรับผู้ที่น้ำหนักมากกว่า 30 กิโลกรัม)
ทั้งนี้ อาจเพิ่มปริมาณยาขึ้นเป็น 30 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง หากผู้ป่วยใช้ยานานเกิน 2 สัปดาห์ แล้วอาการยังไม่ดีขึ้น
ยารับประทานปริมาณ 15 มิลลิกรัม วันละครั้ง เป็นเวลา 8 สัปดาห์
ยาฉีดเข้าหลอดเลือดดำปริมาณ 30 มิลลิกรัม โดยให้ยาเข้าสู่กระแสเลือดช้า ๆ เป็นเวลาอย่างน้อย 30 นาที วันละครั้ง นาน 7 วัน
ยารับประทานปริมาณ 30 มิลลิกรัม วันละครั้งในตอนเช้า เป็นเวลา 8 สัปดาห์ (หากอาการยังไม่ดีขึ้น ให้เพิ่มเวลาใช้ยาไปอีก 8 สัปดาห์) และเมื่ออาการดีขึ้น ให้ยาปริมาณ 15 มิลลิกรัม วันละครั้ง
ยารับประทานปริมาณ 15 มิลลิกรัม วันละครั้งในตอนเช้า เป็นเวลา 12 สัปดาห์ (สำหรับผู้ที่น้ำหนักน้อยกว่า หรือเท่ากับ 30 กิโลกรัม)
ยารับประทานปริมาณ 30 มิลลิกรัม วันละครั้งในตอนเช้า เป็นเวลา 12 สัปดาห์ (สำหรับผู้ที่น้ำหนักมากกว่า 30 กิโลกรัม)
ทั้งนี้ อาจเพิ่มปริมาณยาขึ้นเป็น 30 มิลลิกรัม วันละ 2 ครั้ง หากผู้ป่วยใช้ยานานเกิน 2 สัปดาห์ แล้วอาการยังไม่ดีขึ้น
ยารับประทานปริมาณ 15 มิลลิกรัม วันละครั้ง เป็นเวลา 8 สัปดาห์
ยารับประทานปริมาณ 30 มิลลิกรัม วันละครั้งในตอนเช้า เป็นเวลา 4 สัปดาห์ (สำหรับแผลในลำไส้เล็ก)
ยารับประทานปริมาณ 30 มิลลิกรัม วันละครั้งในตอนเช้า เป็นเวลา 8 สัปดาห์ (สำหรับแผลในกระเพาะอาหาร
เมื่ออาการดีขึ้น ให้ยาปริมาณ 15 มิลลิกรัม วันละครั้ง
ยารับประทานปริมาณ 30 มิลลิกรัม วันละครั้งในตอนเช้า เป็นเวลา 4-8 สัปดาห์
ยารับประทานปริมาณ 15-30 มิลลิกรัม วันละครั้งในตอนเช้า
ยารับประทานปริมาณ 15-30 มิลลิกรัม วันละครั้งในตอนเช้า เป็นเวลา 2-4 สัปดาห์
ใช้ตัวยา 3 ชนิดรักษาร่วมกัน (Triple Therapy)
ยารับประทานปริมาณ 60 มิลลิกรัม วันละครั้งในตอนเช้า และอาจปรับยาตามความเหมาะสม แต่หากต้องใช้ยามากกว่า 120 มิลลิกรัม/วัน ควรแบ่งให้ยาเป็น 2 ครั้ง