Illness name: cerebral palsy สมองพิการ
Description: Cerebral Palsy หรือสมองพิการ เป็นโรคความผิดปกติทางระบบประสาทที่เกิดขึ้นกับทารกหรือเด็กเล็ก โดยเกิดขึ้นเมื่อสมองส่วนที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวเกิดความผิดปกติ ได้รับความเสียหาย หรือมีพัฒนาการที่ไม่สมบูรณ์ ซึ่งจะส่งผลต่อการควบคุมกล้ามเนื้อ การทรงตัว และการเคลื่อนไหวร่างกายไปตลอดชีวิต อาการของผู้ป่วย Cerebral Palsy อาจมีความรุนแรงมากหรือน้อยต่างกัน ขึ้นอยู่กับตำแหน่งของสมองที่ได้รับความเสียหาย ซึ่งมีอาการที่สามารถพบได้ทั่วไป เช่น ทั้งนี้ ตำแหน่งของสมองที่ได้รับความเสียหายจะส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการแตกต่างกันออกไป และสมองพิการอาจแบ่งเป็นหลายชนิด ดังนี้ ส่วนผู้ป่วยเด็กที่เป็น Cerebral Palsy เมื่อเด็กโตขึ้นอาการต่าง ๆ มักจะไม่แย่ลงตามกาลเวลา แต่หากไม่ได้รับการวินิจฉัยที่เหมาะสมและไม่ได้รับการรักษาอย่างจริงจัง ก็อาจทำให้อาการแย่ลงได้ ดังนั้น หากสงสัยหรือพบว่าลูกน้อยมีความผิดปกติทางการเคลื่อนไหว การรับรู้ การทำงานของกล้ามเนื้อ การทรงตัว การกลืน หรือมีปัญหาเกี่ยวกับพัฒนาการด้านอื่น ๆ ควรรีบพาเด็กไปพบแพทย์เพื่อรับการตรวจรักษา โรค Cerebral Palsy เกิดขึ้นเมื่อเซเรบรัลคอร์เทกซ์ (Cerebral Cortex) ซึ่งเป็นสมองส่วนที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวได้รับความเสียหายหรือมีพัฒนาการที่ไม่สมบูรณ์ มักเกิดขึ้นตั้งแต่ทารกอยู่ในครรภ์ แต่ก็อาจเกิดขึ้นในระหว่างคลอดหรือหลังคลอดได้เช่นกัน แม้ในปัจจุบันยังไม่ทราบสาเหตุที่ชัดเจนแต่ก็มีหลายปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการทางสมองของทารกได้ เช่น ปัจจัยที่ส่งผลต่อสมองของทารกก่อนคลอด ได้แก่ ปัจจัยที่ส่งผลต่อสมองของทารกระหว่างคลอดหรือหลังคลอด ได้แก่ ปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ ได้แก่ แพทย์จะวินิจฉัยโรคนี้จากการซักประวัติ ประเมินอาการ ตรวจร่างกาย ถามเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้นในระหว่างคลอดหรือหลังคลอด และอาจวินิจฉัยด้วยวิธีการอื่น ๆ เพิ่มเติม ดังนี้ สำหรับผู้ป่วย Cerebral Palsy หากยิ่งได้รับการรักษาเร็วก็จะยิ่งส่งผลดีต่อตัวผู้ป่วยมากขึ้นเท่านั้น แม้จะไม่สามารถรักษาโรคนี้ให้หายขาดได้ แต่อาจช่วยปรับปรุงขีดความสามารถด้านต่าง ๆ ให้ผู้ป่วยใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงความเป็นปกติมากที่สุด โดยจำเป็นต้องได้รับการดูแลจากทีมแพทย์เพื่อวางแผนการรักษาและปรับปรุงคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ซึ่งสามารถทำได้หลายวิธี ดังนี้ การบำบัดรักษา เช่น การผ่าตัด เช่น การใช้อุปกรณ์ช่วยเหลือ เช่น แว่นตา แว่นขยาย เครื่องช่วยฟัง อุปกรณ์ช่วยพยุง วีลแชร์ เป็นต้น รวมทั้งกายอุปกรณ์ชนิดต่าง ๆ ที่จะช่วยให้ผู้ป่วยใช้ชีวิตประจำวันได้สะดวกยิ่งขึ้น โรค Cerebral Palsy อาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนอื่น ๆ ตามมาได้ เช่น โรค Cerebral Palsy ที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่เกี่ยวข้องกับความผิดปกติทางพันธุกรรม จึงไม่สามารถป้องกันได้ แต่อาจลดความเสี่ยงของการเกิดโรคและป้องกันโรคนี้จากบางสาเหตุได้ด้วยการปฏิบัติตามแนวทาง ดังต่อไปนี้ การป้องกันตั้งแต่ในครรภ์มารดา เช่น การป้องกันในเด็ก เช่นความหมาย สมองพิการ (Cerebral Palsy)
อาการของ Cerebral Palsy
สาเหตุของ Cerebral Palsy
การวินิจฉัย Cerebral Palsy
การรักษา Cerebral Palsy
การรักษาโดยใช้ยา เช่น
ยาคลายกล้ามเนื้อทั่วร่างกาย เช่น ยาไดอาซีแพม ยาบาโคลเฟน ยาไตรเฮกซีเฟนิดิล เป็นต้น
ภาวะแทรกซ้อนของ Cerebral Palsy
การป้องกัน Cerebral Palsy